สรุปสาระสำคัญกำหนดร่างเอกสาร (Terms of Reference : TOR) ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) จัดซื้อระบบซอฟต์แวร์ จำนวน 3 โครงการ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 1 งาน

ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญกำหนดร่างเอกสาร (Terms of Reference : TOR) ประกวดราคา   อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) จัดซื้อระบบซอฟต์แวร์ จำนวน 3 โครงการ    ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 1 งาน

 

 

  1. ความเป็นมา

   มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) นับเป็นระยะเวลา 9 ปี บนพื้นฐานระบบเดิมที่ไม่สามารถทำงานบนระบบปฏิบัติการ Windows 8 ขึ้นไปได้ ซึ่งมหาวิทยาลัยต้องบริหารงานและตัดสินใจโดยใช้ระบบสารสนเทศทันสมัยที่ฉับไว ถูกต้อง นักศึกษาใช้บริการผ่านระบบ e-Services ต่างๆ ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยฯ ด้านผู้ปกครองเข้าถึงสารสนเทศได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงมีความจำเป็นต้องจัดหาซอฟต์แวร์ระบบสาสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) ที่ทำงานบนระบบปฏิบัติการ Windows 8 ขึ้นไปได้ เพื่อทดแทนระบบปฏิบัติการ Windows เดิม จึงทำให้การบริการจัดการของมหาวิทยาลัยบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจที่ตั้งไว้และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด                   

  1. วัตถุประสงค์
  2. เพื่อให้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) ทำงานบนระบบปฏิบัติการ Windows 8 ขึ้นไป
  3. เพื่อให้การบริการจัดการของมหาวิทยาลัยบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ
  4. เพื่อพัฒนาระบบใหม่แบบ Web base ที่รองรับการใช้งานผ่านอุปกรณ์ที่หลากหลาย
  5. ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้

          3.1  มีความสามารถตามกฎหมาย

            3.2  ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

            3.3  ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ

            3.4  ไม่เป็นบุคคลซึ่งอยู่ระหว่างถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐไว้ชั่วคราว เนื่องจากเป็นผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการตามระเบียบ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามที่ประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของกรมบัญชีกลาง

3.5  ไม่เป็นบุคคลซึ่งถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานและได้แจ้งเวียนชื่อให้เป็นผู้ทิ้งงานของหน่วยงานของรัฐในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ซึ่งรวมถึงนิติบุคคลที่ผู้ทิ้งงานเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการดำเนินงานในกิจการของนิติบุคคลนั้นด้วย

            3.6  มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

3.7   เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลผู้มีอาชีพขายพัสดุที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว

          3.8    ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่นที่เข้ายื่นข้อเสนอให้แก่ มหาวิทยาลัย ณ วันประกาศประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรมในการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้

            3.9     ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้นแต่รัฐบาล ของผู้ยื่นข้อเสนอได้มีคำสั่งให้สละเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นว่านั้น

          3.10  ผู้ยื่นข้อเสนอต้องลงทะเบียนในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e - GP) ของกรมบัญชีกลาง

          3.11  ผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งได้รับการคัดเลือกเป็นคู่สัญญาต้องลงทะเบียนในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e - GP) ของกรมบัญชีกลาง ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

          3.12  ผู้ยื่นข้อเสนอต้องไม่อยู่ในฐานะเป็นผู้ไม่แสดงบัญชีรายรับรายจ่าย หรือแสดงบัญชี รายรับรายจ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วนในสาระสำคัญ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

          3.13  ผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งได้รับคัดเลือกเป็นคู่สัญญาต้องรับและจ่ายเงินผ่านบัญชีธนาคาร เว้นแต่การจ่ายเงินแต่ละครั้งซึ่งมีมูลค่าไม่เกินสามหมื่นบาทคู่สัญญาอาจจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

          3.14 ผู้ยื่นเสนอราคาเสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคลและมีผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคา ในวงเงินไม่น้อยกว่า 4,500,000 บาท (สี่ล้านห้าแสนบาทถ้วน) และเป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ที่มหาวิทยาลัยเชื่อถือ

          3.15 ผู้ยื่นเสนอราคาต้องมีประสบการณ์ด้านการพัฒนาระบบ ซึ่งเป็นผลงานที่แล้วเสร็จจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ในวงเงิน 4,500,000 บาท (สี่ล้านห้าแสนบาทถ้วน) และเป็นผลงานที่แล้วเสร็จ ไม่เกิน 5 ปี นับถึงวันที่ยื่นเอกสารเสนอราคา โดยแนบสำเนาหนังสือรับรองผลงานจากหน่วยงานมาพร้อมกับเอกสารประกวดราคา

  1. ขอบเขตของงาน

         ระบบซอฟต์แวร์ จำนวน 3 โครงการ  

  1. 5. ระยะเวลาดำเนินงาน 365 วัน

 

  1. 6. วงเงินงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน / ราคากลาง

         งบประมาณแผ่นดิน 2561 เป็นเงินทั้งสิ้น 9,000,000 บาท (เก้าล้านบาทถ้วน)

  1. 8. สถานที่ติดต่อ

งานพัสดุ กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เลขที่ 39/1     ถนนรัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

โทรศัพท์          0-2942-5800 ต่อ 1130 - 1132

โทรสาร           0-2513-9735

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะโครงการจัดซื้อพร้อมติดตั้งหลอด LED tube (120 cm.) ขนาดไม่เกิน 18 วัตต์ จำนวน 12,400 หลอด และหลอด LED street light ขนาดไม่เกิน 28 วัตต์ จำนวน 90 หลอด

  1. หลอด LEDTube ไม่เกิน 18 วัตต์ ทดแทนหลอดฟลูออเรสเซนต์T8 ขนาด 36 วัตต์ และหลอดฟูออเรสเซนต์T5 ขนาด 28 วัตต์ มีคุณลักษณะดังนี้

    - สามารถใช้กับแรงดันไฟกระแสสลับ 220-240โวลต์ความถี่ 50 เฮิรตซ์

    - กำลังไฟฟ้ารวมไม่เกิน 18 วัตต์ค่าความคลาดเคลื่อน +/- ร้อยละ 5

    - หลอดไฟแอลอีดีมีขั้วหลอดเป็นชนิด G13และมีความยาวหลอดไฟ 1200 มิลลิเมตร

    - หลอดไฟแอลอีดีมีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor) ไม่น้อยกว่า 0.90 โดยดูจากผลการทดสอบ LM79

    - หลอดไฟแอลอีดีมีค่าความผิดเพี้ยนฮาร์มอนิกทั้งหมดของกระแส (Total Harmonic Current Distortion THDi)ด้านเข้าต้องไม่เกินร้อยละ15โดยดูจากผลการทดสอบ LM79

    - หลอดไฟแอลอีดีมีค่าฟลักซ์การส่องสว่าง(Luminous Flux)ไม่น้อยกว่า 2,100ลูเมน โดยดูจากผลการทดสอบ LM79

    - หลอดไฟแอลอีดีมีประสิทธิภาพการส่องสว่าง (Efficacy) ไม่น้อยกว่า 140ลูเมนต่อวัตต์

- หลอดไฟแอลอีดีมีค่ามุมกระจายแสงของหลอดต้องไม่น้อยกว่า 140 องศาโดยดูจากผลการทดสอบLM79

- หลอดไฟแอลอีดีมีค่าอุณหภูมิสี (Correlated Color Temperature)Nominal CCT ที่ 6,500เควินตามมาตรฐาน ANSI C78.377 โดยดูผลจากผลการทดสอบ LM79

  • หลอดไฟแอลอีดีมีค่าความถูกต้องของสี (Color Rendering Index : CRI)ไม่น้อยกว่า 80 โดยดูจากผลการทดสอบ LM79
  • หลอดไฟแอลอีดีได้รับการรับรองมาตรฐานบริภัณฑ์ส่องสว่างและบริภัณฑ์ที่คล้ายกัน: ขีดจำกัดสัญญาณรบกวนวิทยุ (มอก.1955-2551)
  • หลอดไฟแอลอีดีใช้เม็ด LED (LED Chip) จากบริษัทผู้ผลิตที่มีความน่าเชื่อถือ ได้แก่ Nichia หรือ CREEหรือ LumiLEDsหรือ LG หรือ Osramหรือเทียบเท่า หรือดีกว่า
  • หลอดไฟมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 50,000 ชั่วโมง โดยสามารถยังคงค่าฟลักซ์การส่องสว่างได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (L70) ของค่าความสว่างเบื้องต้น
  • ผ่านการทดสอบและได้ใบรับรองตามมาตรฐานสากล IEC62471 Photo biological Safety of Lamp Syatems (Eye Safety) ประเภทกลุ่ม ความเสี่ยง (Risk Group) ระดับ 1 หรือต่ำกว่า หรือเทียบเท่า
  • หลอดไฟแอลอีดีต้องผ่านมาตรฐานการทดสอบ EMC โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน IEC61000-3-2 IEC61000-3-3 และ IEC61547 หรือเทียบเท่า
  • หลอดไฟแอลอีดีผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยตาม IEC 62776
  • หลอดไฟแอลอีดีผ่านการทดสอบทางด้านประสิทธิภาพ IES LM79
  • ชุดขับหลอดแอลอีดี (LED Driver ) ติดตั้งอยู่ภายในหลอด และมีอุปกรณ์ป้องกันแรงดันกระชาก (Surge Protection) ได้ไม่น้อยกว่า 1 กิโลโวลต์ (Line-Neutral)
  • ชุดหลอด LED ต้องสามารถติดตั้งเข้ากับโคมไฟFluorescent เดิม (ซึ่งใช้บัลลาสต์แกนเหล็ก) ได้โดยไม่ต้องมีการแก้ไขวงจรไฟฟ้าภายในโคม การใช้อแดปเตอร์เสริมเพื่อต่อแทนสตาร์ทเตอร์ถือว่ายอมรับได้
  • หลอดไฟแอลอีดีสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิแวดล้อม (Ambient Temperature) อยู่ระหว่าง -20 ถึง 35 องศาเซลเซียส
  •  
  • โคมไฟถนนชนิด LED street light ไม่เกิน 28 วัตต์ สำหรับใช้ทดแทนโคมไฟถนนหลอดฟลูออเรสเซนต์T8 ขนาด 36 วัตต์ มีคุณสมบัติดังนี้

  • หลอดไฟแอลอีดีใช้เม็ด LED (LED Chip) จากบริษัทผู้ผลิตที่มีความน่าเชื่อถือ ได้แก่ Nichia หรือ CREE หรือ LumiLEDsหรือ LG หรือ Osramหรือเทียบเท่า หรือดีกว่า
  • LED ที่ใช้ต้องมีผลการทดสอบการคงค่าความสว่างตามมาตรฐาน IES LM80 (LM80 Test report) ที่กระแสขับไม่น้อยกว่าพิกัดของ Driver ที่ใช้โดย LED นั้นต้องสามารถคงความสว่างได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ70 (L70) ที่อายุ 50,000 ชั่วโมง (เมื่อคำนวณอายุตามมาตรฐาน IES TM21)                
  • อุปกรณ์ขับกระแส (Driver) ของชุดโคม LED ต้องเหมาะสมกับการใช้งานร่วมกับแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 180-220โวลต์ ความถี่ 50เฮิรตซ์
  • อุปกรณ์ขับกระแส (Driver) ต้องมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 50,000 ชั่วโมง (ที่อุณหภูมิ Tc ที่ระบุ)
  • อุปกรณ์ขับกระแส (Driver) มีวงจร/อุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้ากระชาก (Surge Protection)
  • อุปกรณ์ขับกระแส (Driver) จะต้องผ่านมาตรฐาน IEC61347-2-13 หรือเทียบเท่า
  • อุปกรณ์ขับกระแส (Driver) จะต้องผ่านมาตรฐาน IEC62384 หรือเทียบเท่า
  • ตัวโคมทำจากอลูมิเนียมขึ้นรูปด้วยความดันสูง (High Pressure Die-Cast) สามารถทนการกัดกร่อนมีความแข็งแรงทนต่อการติดตั้งภายนอกอาคาร
  • เลนส์ควบคุมแสงทำจากวัสดุที่ทน UV หรือวัสดุอื่นที่เทียบเท่า
  • ต้องมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 50,000 ชั่วโมง โดยสามารถยังคงความสว่างได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70(L70) ของค่าความสว่างเริ่มต้น ที่อุณหภูมิแวดล้อม 35 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่ส่วนประกอบต่างๆภายในโคม เช่น LED หรือ LED Module และตัวขับกระแสไฟฟ้า (Driver) เมื่อเปิดใช้งานที่อุณหภูมิแวดล้อมของตัวโคมไฟน้อยกว่า 35 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่ส่วนประกอบต่างๆต้องไม่เกินพิกัดของอุปกรณ์นั้นๆ
  • ตัวโคมมีพื้นผิวเพียงพอสำหรับการระบายความร้อนได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสมต่อการใช้งานในอุณหภูมิแวดล้อมในช่วง -20 ถึง 45 องศาเซลเซียส โดยไม่ใช้การระบายความร้อนเสริมอื่นใดนอกเหนือจากครีบระบายความร้อนบนตัวโคม การระบายความร้อนของตัวโคมต้องเป็นแบบ Passive Cooling การระบายความร้อนแบบ Active Coolingเช่นการใช้พัดลมไม่สามารถยอมรับได้
  • - ต้องมีค่าตัวประกอบกำลัง(Power Factor)ที่กำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 0.9
  • ต้องมีกำลังไฟฟ้าที่ใช้รวมของโคมไฟทั้งชุดไม่เกิน 28 วัตต์
  • ต้องมีปริมาณแสงรวมไม่น้อยกว่า 3,300 ลูเมน
  • ต้องมีค่าดัชนีความถูกต้องของสี(Color Rendering Index : CRI) ไม่น้อยกว่า 70
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องมีอุณหภูมิสี (Correlated Color Temperature)Nominal CCT5,700เควิน โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนเป็นตามมาตรฐาน ANSI C78.377
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐานIEC 60598-2-3 หรือเทียบเท่า และโคมไฟฟลัดไลท์ชนิด LED ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐาน IEC 60598-2-5 หรือเทียบเท่า
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องผ่านการทดสอบ Static Load Test ตามมาตรฐานIEC 60598-2-3 ข้อ3.6.3 หรือเทียบเท่า
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องผ่านการทดสอบ Resistance to Corrosion ตามมาตรฐาน IEC 60598-1ข้อ 4.15 หรือเทียบเท่า
  • ต้องผ่านการทดสอบ Vibration Test (ตามที่ผู้ผลิตแนะนำ)
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องผ่านการทดสอบการทนการกัดกร่อนของไอเกลือ(Salt spray test)เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง
  • ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 62471 ที่ประเภทกลุ่มระดับความเสี่ยง 1 หรือต่ำกว่าหรือเทียบเท่า
  • ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐาน มอก.1955-2551
  • ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐาน IEC 61547 หรือเทียบเท่า
  • ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐาน IEC 61000-3-2 หรือเทียบเท่า
  • ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐาน IEC 61000-3-3 หรือเทียบเท่า
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้ากระชาก(Surge Protection)โดยต้องทนแรงดันไฟฟ้ากระชากได้ไม่น้อยกว่า 10 กิโลโวลต์(Line-Neutral)
  • โคมไฟถนนชนิด LED ต้องเหมาะสำหรับการติดตั้งแบบ side-entry บนเสาไฟทั่วไปที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของปลายเสา 60 มิลลิเมตร
  • ต้องมีระดับการป้องกันฝุ่น-น้ำไม่น้อยกว่า IP65 ทั้งดวงโคม โดยห้ามใช้วัสดุกาวในการป้องกันฝุ่น-น้ำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เอกสารประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

เลขที่…………………..

จัดซื้อระบบซอฟต์แวร์ จำนวน 3 โครงการ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 1 งาน ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e - bidding)

ตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ลงวันที่ ………………………………………….

     -----------------------------------------

          มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีความประสงค์จะประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ จัดซื้อระบบซอฟต์แวร์ จำนวน 3 โครงการ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 1 งาน ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e - bidding)

              พัสดุที่จะซื้อนี้ต้องเป็นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็นของเก่าเก็บ อยู่ในสภาพที่จะใช้งานได้ทันทีและมีคุณลักษณะเฉพาะตรงตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ฉบับนี้ โดยมีข้อแนะนำและข้อกำหนด ดังต่อไปนี้

  1. 1. เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
    1. รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
    2. แบบใบเสนอราคาที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์
    3. แบบสัญญาซื้อขาย
    4. แบบหนังสือค้ำประกัน                        (2)   หลักประกันสัญญา                          (1)   ผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน                  1.6    แบบบัญชีเอกสารที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์                          (2)   บัญชีเอกสารส่วนที่ 2                  2.1    มีความสามารถตามกฎหมาย                  2.3    ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ 
    5.                   2.4    ไม่เป็นบุคคลซึ่งอยู่ระหว่างถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐไว้ชั่วคราว เนื่องจากเป็นผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการตามระเบียบ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามที่ประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของกรมบัญชีกลาง
    6.                   2.2    ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
    7.             2.   คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอ
    8.                           (1)   บัญชีเอกสารส่วนที่ 1
    9.                           (2)   การขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม
    10. 1.5    บทนิยาม
    11.                          (1)   หลักประกันการเสนอราคา

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

                  2.5    ไม่เป็นบุคคลซึ่งถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานและได้แจ้งเวียนชื่อให้เป็นผู้ทิ้งงานของหน่วยงานของรัฐในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ซึ่งรวมถึงนิติบุคคลที่ผู้ทิ้งงานเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการดำเนินงานในกิจการของนิติบุคคลนั้นด้วย

                  2.6    มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

     2.7     เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลผู้มีอาชีพขายพัสดุที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว

                  2.8    ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่นที่เข้ายื่นข้อเสนอให้แก่ มหาวิทยาลัย ณ วันประกาศประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรมในการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้

                     2.9     ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้นแต่รัฐบาล ของผู้ยื่นข้อเสนอได้มีคำสั่งให้สละเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นว่านั้น

                  2.10  ผู้ยื่นข้อเสนอต้องลงทะเบียนในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e - GP) ของกรมบัญชีกลาง

                  2.11  ผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งได้รับการคัดเลือกเป็นคู่สัญญาต้องลงทะเบียนในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e - GP) ของกรมบัญชีกลาง ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

                  2.12  ผู้ยื่นข้อเสนอต้องไม่อยู่ในฐานะเป็นผู้ไม่แสดงบัญชีรายรับรายจ่าย หรือแสดงบัญชี รายรับรายจ่ายไม่ถูกต้องครบถ้วนในสาระสำคัญ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

                  2.13  ผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งได้รับคัดเลือกเป็นคู่สัญญาต้องรับและจ่ายเงินผ่านบัญชีธนาคาร เว้นแต่การจ่ายเงินแต่ละครั้งซึ่งมีมูลค่าไม่เกินสามหมื่นบาทคู่สัญญาอาจจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

                  2.14 ผู้ยื่นเสนอราคาเสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคลและมีผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคา ในวงเงินไม่น้อยกว่า 4,500,000 บาท (สี่ล้านห้าแสนบาทถ้วน) และเป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ที่มหาวิทยาลัยเชื่อถือ

                  2.15 ผู้ยื่นเสนอราคาต้องมีประสบการณ์ด้านการพัฒนาระบบ ซึ่งเป็นผลงานที่แล้วเสร็จจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ในวงเงิน 4,500,000 บาท (สี่ล้านห้าแสนบาทถ้วน) และเป็นผลงานที่แล้วเสร็จ ไม่เกิน 5 ปี นับถึงวันที่ยื่นเอกสารเสนอราคา โดยแนบสำเนาหนังสือรับรองผลงานจากหน่วยงานมาพร้อมกับเอกสารประกวดราคา

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

 

  1. 3. หลักฐานการยื่นข้อเสนอ

                  ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น 2 ส่วน คือ

                  3.1    ส่วนที่ 1 อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้

                          (1)     ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นนิติบุคคล

                                  (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจำกัด ให้ยื่นสำเนาหนังสือรับรอง การจดทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอำนาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสำเนาถูกต้อง

                                  (ข) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด ให้ยื่นสำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน นิติบุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอำนาจควบคุม (ถ้ามี) และบัญชีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสำเนาถูกต้อง

                          (2)     ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้ยื่นสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้นั้น สำเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน (ถ้ามี) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้เป็นหุ้นส่วนที่มิได้ถือสัญชาติไทย พร้อมทั้งรับรองสำเนาถูกต้อง

                          (3)     ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นผู้ยื่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้า ให้ยื่นสำเนาสัญญาของการเข้าร่วมค้า และเอกสารตามที่ระบุไว้ใน (1) หรือ (2) ของผู้ร่วมค้า แล้วแต่กรณี

                          (4)     สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์ สำเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

          (5)      บัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ทั้งหมดที่ได้ยื่นพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบในข้อ 1.6 (1) โดยไม่ต้องแนบในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

                   ทั้งนี้ เมื่อผู้ยื่นข้อเสนอดำเนินการแนบไฟล์เอกสารตามบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ครบถ้วน ถูกต้องแล้ว ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์จะสร้างบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ตามแบบ ในข้อ 1.6 (1) ให้โดยผู้ยื่นข้อเสนอไม่ต้องแนบบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ดังกล่าวในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

                  3.2    ส่วนที่ 2 อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้

                          (1) ในกรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอมอบอำนาจให้บุคคลอื่นกระทำการแทนให้แนบหนังสือ มอบอำนาจซึ่งติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย โดยมีหลักฐานแสดงตัวตนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ ทั้งนี้หากผู้รับมอบอำนาจเป็นบุคคลธรรมดาต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะตามกฎหมายแล้วเท่านั้น

                          (2)     แคตตาล็อกและ/หรือแบบรูปรายการละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ตามข้อ 4.4

                          (3)     หลักประกันการเสนอราคา ตามข้อ 5

                             (4)      บัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ทั้งหมดที่ได้ยื่นพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบในข้อ 1.6 (2) โดยไม่ต้องแนบในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

                  ทั้งนี้ เมื่อผู้ยื่นข้อเสนอดำเนินการแนบไฟล์เอกสารตามบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ครบถ้วน ถูกต้องแล้ว ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์จะสร้างบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ตามแบบในข้อ 1.6 (2) ให้โดยผู้ยื่นข้อเสนอไม่ต้องแนบบัญชีเอกสารส่วนที่ 2 ดังกล่าวในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  1. 4. การเสนอราคา

                     4.1   ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอและเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้องกรอกข้อความ ให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทำการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอโดยไม่ต้องแนบ ใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

                     4.2   ในการเสนอราคาให้เสนอราคาเป็นเงินบาท และเสนอราคาได้เพียงครั้งเดียวและราคาเดียว โดยเสนอราคารวม และหรือราคาต่อหน่วย และหรือต่อรายการ ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ท้ายใบเสนอราคา ให้ถูกต้อง ทั้งนี้ ราคารวมที่เสนอจะต้องตรงกันทั้งตัวเลขและตัวหนังสือ ถ้าตัวเลขและตัวหนังสือไม่ตรงกัน ให้ถือตัวหนังสือเป็นสำคัญ โดยคิดราคารวมทั้งสิ้นซึ่งรวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีอากรอื่น ค่าขนส่ง ค่าจดทะเบียน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ทั้งปวงไว้แล้ว จนกระทั่งส่งมอบพัสดุให้ ณ มหาวิทยาลัย

      ราคาที่เสนอจะต้องเสนอกำหนดยืนราคาไม่น้อยกว่า 60 วัน ตั้งแต่วันเสนอราคาโดยภายในกำหนดยืนราคา ผู้ยื่นข้อเสนอต้องรับผิดชอบราคาที่ตนได้เสนอไว้ และจะถอนการเสนอราคามิได้

                  4.3  ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอกำหนดเวลาส่งมอบพัสดุไม่เกิน 365 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาซื้อขาย หรือวันที่ได้รับหนังสือแจ้งจากมหาวิทยาลัย ให้ส่งมอบพัสดุ

                  4.4  ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องส่งแคตตาล็อก และหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของ ระบบซอฟต์แวร์ จำนวน 3 โครงการ ไปพร้อมการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประกอบการพิจารณา หลักฐานดังกล่าวนี้ มหาวิทยาลัย จะยึดไว้เป็นเอกสารของทางราชการ

                        สำหรับแคตตาล็อกที่แนบให้พิจารณา หากเป็นสำเนารูปถ่ายจะต้องรับรองสำเนาถูกต้อง โดยผู้มีอำนาจทำนิติกรรมแทนนิติบุคคล หากคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ มีความประสงค์จะขอดูต้นฉบับแคตตาล็อก ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องนำต้นฉบับมาให้คณะกรรมการพิจารณาผล การประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ตรวจสอบภายใน 3 วัน

                  4.5   ก่อนเสนอราคา ผู้ยื่นข้อเสนอควรตรวจดูร่างสัญญา รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ฯลฯ ให้ถี่ถ้วนและเข้าใจเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดเสียก่อนที่จะตกลงยื่นข้อเสนอตามเงื่อนไข ในเอกสารประกวดราคาซื้ออิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

4.6   ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องยื่นข้อเสนอและเสนอราคาทางระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ในวันที่ ….....................................…… ระหว่างเวลา ….....................................……น. ถึง….....................................……น. และเวลาในการเสนอราคาให้ถือตามเวลาของระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์เป็นเกณฑ์

เมื่อพ้นกำหนดเวลายื่นข้อเสนอและเสนอราคาแล้ว จะไม่รับเอกสารการยื่นข้อเสนอ และการเสนอราคาใดๆ โดยเด็ดขาด

                    4.7  ผู้ยื่นข้อเสนอต้องจัดทำเอกสารสำหรับใช้ในการเสนอราคาในรูปแบบไฟล์เอกสารประเภท PDF File (Portable Document Format) โดยผู้ยื่นข้อเสนอต้องเป็นผู้รับผิดชอบตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง และชัดเจนของเอกสาร PDF File ก่อนที่จะยืนยันการเสนอราคา แล้วจึงส่งข้อมูล (Upload) เพื่อเป็นการเสนอราคาให้แก่มหาวิทยาลัย ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์

                    4.8  คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ จะดำเนินการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายว่า เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น ตามข้อ 1.5 (1) หรือไม่ หากปรากฏว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายใดเป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น คณะกรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันนั้นออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ

หากปรากฏต่อคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ว่า ก่อนหรือ ในขณะที่มีการพิจารณาข้อเสนอ มีผู้ยื่นข้อเสนอรายใดกระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรมตามข้อ 1.5(2) และคณะกรรมการฯ เชื่อว่ามีการกระทำอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม คณะกรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้นออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ และมหาวิทยาลัย จะพิจารณาลงโทษผู้ยื่นข้อเสนอดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงานเว้นแต่มหาวิทยาลัยจะพิจารณาเห็นว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้นมิใช่เป็นผู้ริเริ่มให้มีการกระทำดังกล่าวและได้ให้ความร่วมมือเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของมหาวิทยาลัย

                  4.9  ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องปฏิบัติ ดังนี้

(1) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์

(2) ราคาที่เสนอจะต้องเป็นราคาที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ (ถ้ามี) รวมค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้ด้วยแล้ว

(3) ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องลงทะเบียนเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา ตามวัน เวลา ที่กำหนด

                            (4) ผู้ยื่นข้อเสนอจะถอนการเสนอราคาที่เสนอแล้วไม่ได้

                            (5) ผู้ยื่นข้อเสนอต้องศึกษาและทำความเข้าใจในระบบและวิธีการเสนอราคา ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลางที่แสดงไว้ในเว็บไซต์ www.gprocurement.go.th

 

 

 

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

  1. 5. หลักประกันการเสนอราคา (ใช้สำหรับกรณีที่มีวงเงินงบประมาณการจัดซื้อ เกินกว่า 5,000,000 บาท)

                  ผู้ยื่นข้อเสนอต้องวางหลักประกันการเสนอราคาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ จำนวน 450,000 บาท (สี่แสนห้าหมื่นบาทถ้วน)

                  5.1 เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือดราฟท์นั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันที่ยื่นข้อเสนอ หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทำการ

5.2 หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด

5.3 พันธบัตรรัฐบาลไทย

5.4 หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย      ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด

                  กรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอนำเช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายหรือพันธบัตรรัฐบาลไทยหรือหนังสือ ค้ำประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ มาวางเป็นหลักประกันการเสนอราคาจะต้องส่งต้นฉบับเอกสารดังกล่าวมาให้มหาวิทยาลัยตรวจสอบความถูกต้องในวันที่….....................................……ระหว่างเวลา.....................................……น. ถึง.....................................……น.

                  กรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอยื่นข้อเสนอในรูปแบบของ “กิจการร่วมค้า” ประสงค์จะใช้หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารในประเทศเป็นหลักประกันการเสนอราคา ให้ระบุชื่อผู้ยื่นข้อเสนอในหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ฯ ดังนี้

                        (1) กรณีที่กิจการร่วมค้าได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ ให้ระบุชื่อกิจการร่วมค้าดังกล่าวเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ

                        (2) กรณีที่กิจการร่วมค้าไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ ให้ระบุชื่อผู้เข้าร่วมค้า รายที่สัญญาร่วมค้ากำหนดให้เป็นผู้เข้ายื่นข้อเสนอกับหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ

ทั้งนี้ “กิจการร่วมค้าที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่” หมายความว่า กิจการร่วมค้า ที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

                  หลักประกันการเสนอราคาตามข้อนี้ หาวิทยาลัย จะคืนให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือ ผู้ค้ำประกันภายใน  15 วัน นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัย ได้พิจารณาเห็นชอบรายงานผลคัดเลือกผู้ชนะการประกวดราคาเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้ยื่นข้อเสนอรายที่คัดเลือกไว้ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดหรือได้คะแนนรวมสูงสุดไม่เกิน 3 ราย ให้คืนได้ต่อเมื่อได้ทำสัญญาหรือข้อตกลง หรือผู้ยื่นข้อเสนอได้พ้นจากข้อผูกพันแล้ว

                  การคืนหลักประกันการเสนอราคา ไม่ว่าในกรณีใดๆ จะคืนให้โดยไม่มีดอกเบี้ย

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

  1. 6. หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา

6.1 ในการพิจารณาผลการยื่นข้อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ มหาวิทยาลัย จะพิจารณาตัดสินโดยใช้หลักเกณฑ์ราคา

6.2  การพิจารณาผู้ชนะการยื่นข้อเสนอ

(ก) กรณีใช้หลักเกณฑ์ราคาในการพิจารณาผู้ชนะการยื่นข้อเสนอ มหาวิทยาลัยจะพิจารณาจากราคารวม

                        6.3  หากผู้ยื่นข้อเสนอรายใดมีคุณสมบัติไม่ถูกต้องตามข้อ 2 หรือยื่นหลักฐานการยื่นข้อเสนอไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วนตามข้อ 3 หรือยื่นข้อเสนอไม่ถูกต้องตามข้อ 4 คณะกรรมการพิจารณาผล การประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะไม่รับพิจารณาข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น เว้นแต่ ผู้ยื่นข้อเสนอรายใด เสนอเอกสารทางเทคนิคหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะขายไม่ครบถ้วน หรือเสนอรายละเอียดแตกต่างไปจากเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนที่มิใช่สาระสำคัญและความแตกต่างนั้นไม่มีผลทำให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบ ต่อผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือเป็นการผิดพลาดเล็กน้อย คณะกรรมการฯ อาจพิจารณาผ่อนปรนการตัดสิทธิ ผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น

                        6.4  มหาวิทยาลัยสงวนสิทธิไม่พิจารณาข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอโดยไม่มีการผ่อนผัน ในกรณีดังต่อไปนี้

                                 (1) ไม่ปรากฏชื่อผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้นในบัญชีรายชื่อผู้รับเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ทางระบบจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ หรือบัญชีรายชื่อผู้ซื้อเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ทางระบบจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ของมหาวิทยาลัย

                                 (2) ไม่กรอกชื่อผู้ยื่นข้อเสนอในการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์

                            (3) เสนอรายละเอียดแตกต่างไปจากเงื่อนไขที่กำหนดในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นสาระสำคัญ หรือมีผลทำให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบแก่ผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น

                        6.5  ในการตัดสินการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือในการทำสัญญา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือมหาวิทยาลัย มีสิทธิให้ผู้ยื่นข้อเสนอชี้แจงข้อเท็จจริงเพิ่มเติมได้มหาวิทยาลัยมีสิทธิที่จะไม่รับข้อเสนอ ไม่รับราคา หรือไม่ทำสัญญา หากข้อเท็จจริงดังกล่าวไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้อง

6.6  มหาวิทยาลัยทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะไม่รับราคาต่ำสุด หรือราคาหนึ่งราคาใดหรือราคาที่เสนอทั้งหมดก็ได้ และอาจพิจารณาเลือกซื้อในจำนวน หรือขนาด หรือเฉพาะรายการหนึ่งรายการใดหรืออาจจะยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่พิจารณาจัดซื้อเลยก็ได้ สุดแต่จะพิจารณา

 

 

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญ และให้ถือว่าการตัดสินของมหาวิทยาลัยเป็นเด็ดขาดผู้ยื่นข้อเสนอจะเรียกร้องค่าใช้จ่าย หรือค่าเสียหายใดๆ มิได้ รวมทั้งมหาวิทยาลัยจะพิจารณายกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์และลงโทษ ผู้ยื่นข้อเสนอเป็นผู้ทิ้งงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกหรือไม่ก็ตาม หากมีเหตุที่เชื่อถือได้ว่าการยื่นข้อเสนอกระทำการโดยไม่สุจริต เช่น การเสนอเอกสารอันเป็นเท็จ หรือใช้ชื่อบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลอื่นมาเสนอราคาแทน เป็นต้น

                         ในกรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอรายที่เสนอราคาต่ำสุด เสนอราคาต่ำจนคาดหมายได้ว่าไม่อาจดำเนินงานตามเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือมหาวิทยาลัยจะให้ผู้ยื่นข้อเสนอนั้นชี้แจงและแสดงหลักฐานที่ทำให้เชื่อได้ว่า ผู้ยื่นข้อเสนอสามารถดำเนินการตามเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ให้เสร็จสมบูรณ์ หากคำชี้แจงไม่เป็นที่รับฟังได้ มหาวิทยาลัยมีสิทธิที่จะไม่รับข้อเสนอหรือไม่รับราคาของผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น ทั้งนี้ ผู้ยื่นข้อเสนอดังกล่าวไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าใช้จ่ายหรือค่าเสียหายใดๆ จากมหาวิทยาลัย

                          6.7  ก่อนลงนามในสัญญามหาวิทยาลัยอาจประกาศยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ หากปรากฏว่ามีการกระทำที่เข้าลักษณะผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะการประกวดราคาหรือที่ได้รับการคัดเลือกมีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือมีส่วนได้เสียกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม หรือสมยอมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือเจ้าหน้าที่ในการเสนอราคา หรือส่อว่ากระทำการทุจริตอื่นใดในการเสนอราคา

  1. 7. การทำสัญญาซื้อขาย
    1. ในกรณีที่ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ สามารถส่งมอบสิ่งของได้ครบถ้วนภายใน 5 วันทำการ นับแต่วันที่ทำข้อตกลงซื้อ จะพิจารณาจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือแทนการทำสัญญาตามแบบสัญญาดังระบุ ในข้อ 1.3 ก็ได้
    2.                      7.2     ในกรณีที่ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ไม่สามารถส่งมอบสิ่งของได้ครบถ้วน ภายใน 5 วันทำการ หรือมหาวิทยาลัย เห็นว่าไม่สมควรจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือ ตามข้อ 7.1 ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาซื้อขายตามแบบสัญญาดังระบุในข้อ 1.3 หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือ กับมหาวิทยาลัย ภายใน 7 วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละห้า ของราคาค่าสิ่งของที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ให้มหาวิทยาลัย ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
  1. เงินสด
  2. เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็ค หรือดราฟท์นั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทำการ
  3. หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ 1.4 (2) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

  1. หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือ ค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ 1.4 (2)
  2. พันธบัตรรัฐบาลไทย            8.   ค่าจ้างและการจ่ายเงิน
  3.                  หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้ขาย) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาซื้อขายแล้ว            

                  มหาวิทยาลัยจะจ่ายค่าสิ่งของซึ่งได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ตลอดจนภาษีอากรอื่นๆ และค่าใช้จ่ายทั้งปวงแล้วให้แก่ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ขาย เมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสิ่งของได้ครบถ้วนตามสัญญาซื้อขายหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ และมหาวิทยาลัย ได้ตรวจรับมอบสิ่งของไว้เรียบร้อยแล้ว

  1. อัตราค่าปรับ

                   ค่าปรับตามแบบสัญญาซื้อขายแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลง ซื้อขายเป็นหนังสือ ให้คิดในอัตราร้อยละ 0.2 ของราคาค่าสิ่งของที่ยังไม่ได้รับมอบต่อวัน

  1. 10. การรับประกันความชำรุดบกพร่อง

                    ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งได้ทำสัญญาซื้อขายตามแบบดังระบุในข้อ 1.3 หรือทำข้อตกลงซื้อเป็นหนังสือ แล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของสิ่งของที่ซื้อขายที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยได้รับมอบสิ่งของ โดยต้องรีบจัดการซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน 7วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง            

  1. 11. ข้อสงวนสิทธิ์ในการยื่นข้อเสนอและอื่น ๆ

                  11.1 เงินค่าพัสดุสำหรับการซื้อครั้งนี้ ได้มาจากเงินงบประมาณแผ่นดิน 2561                                  การลงนามในสัญญาจะกระทำได้ ต่อเมื่อ มหาวิทยาลัยได้รับอนุมัติเงินค่าพัสดุ จากงบประมาณแผ่นดิน 2561 แล้วเท่านั้น

                  11.2  เมื่อมหาวิทยาลัยได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรายใดให้เป็นผู้ขาย และได้ตกลงซื้อสิ่งของตามการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ถ้าผู้ขายจะต้องสั่งหรือนำสิ่งของดังกล่าวเข้ามาจากต่างประเทศและของนั้นต้องนำเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางที่มีเรือไทยเดินอยู่ และสามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกำหนด ผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งเป็นผู้ขายจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวี ดังนี้

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

  1. แจ้งการสั่งหรือนำสิ่งของที่ซื้อขายดังกล่าวเข้ามาจากต่างประเทศต่อกรมเจ้าท่า ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่ผู้ขายสั่ง หรือซื้อของจากต่างประเทศ เว้นแต่เป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้
  2. จัดการให้สิ่งของที่ซื้อขายดังกล่าวบรรทุกโดยเรือไทย หรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย จากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า ให้บรรทุกสิ่งของนั้นโดยเรืออื่นที่มิใช่เรือไทย ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตเช่นนั้นก่อนบรรทุกของลงเรืออื่น หรือเป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่น
  3. ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตาม (1) หรือ (2) ผู้ขายจะต้องรับผิดตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมการพาณิชยนาวี
  4.                   11.3    ผู้ยื่นข้อเสนอซึ่งมหาวิทยาลัยได้คัดเลือกแล้ว ไม่ไปทำสัญญาหรือข้อตกลงซื้อ เป็นหนังสือภายในเวลาที่กำหนด ดังระบุไว้ในข้อ 7 มหาวิทยาลัยจะริบหลักประกันการยื่นข้อเสนอ หรือเรียกร้องจากผู้ออกหนังสือค้ำประกันการยื่นข้อเสนอทันที และอาจพิจารณาเรียกร้องให้ชดใช้ความเสียหายอื่น (ถ้ามี) รวมทั้งจะพิจารณาให้เป็นผู้ทิ้งงาน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

                  11.4  มหาวิทยาลัย สงวนสิทธิ์ที่จะแก้ไขเพิ่มเติมเงื่อนไข หรือข้อกำหนดในแบบสัญญาหรือข้อตกลงซื้อเป็นหนังสือ ให้เป็นไปตามความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุด (ถ้ามี)

                  11.5  ในกรณีที่เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ มีความขัดหรือแย้งกัน ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของมหาวิทยาลัย คำวินิจฉัยดังกล่าวให้ถือเป็นที่สุด และผู้ยื่นข้อเสนอไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติม

                  11.6    มหาวิทยาลัยอาจประกาศยกเลิกการจัดซื้อในกรณีต่อไปนี้ได้ โดยที่ผู้ยื่นข้อเสนอ จะเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากมหาวิทยาลัยไม่ได้

                            (1)   มหาวิทยาลัยไม่ได้รับการจัดสรรเงินที่จะใช้ในการจัดซื้อหรือที่ได้รับจัดสรรแต่ไม่เพียงพอที่จะทำการจัดซื้อครั้งนี้ต่อไป

                            (2)   มีการกระทำที่เข้าลักษณะผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะการจัดซื้อหรือที่ได้รับการคัดเลือก มีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือมีส่วนได้เสียกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม หรือสมยอมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น หรือเจ้าหน้าที่ในการเสนอราคา หรือส่อว่ากระทำการทุจริตอื่นใดในการเสนอราคา

                            (3)   การทำการจัดซื้อครั้งนี้ต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่มหาวิทยาลัย หรือกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ

                            (4) กรณีอื่นในทำนองเดียวกับ (1) (2) หรือ (3) ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ซึ่งออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ

 

 

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

  1. 12. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ

                  ในระหว่างระยะเวลาการซื้อ ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ขายต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายและระเบียบได้กำหนดไว้โดยเคร่งครัด

  1. 13. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ

                  มหาวิทยาลัยสามารถนำผลการปฏิบัติงานแล้วเสร็จตามสัญญาของผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับ การคัดเลือกให้เป็นผู้ขายเพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ

                  ทั้งนี้ หากผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือทำสัญญากับมหาวิทยาลัย ไว้ชั่วคราว

 

                                                  มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1...........……ประธานกรรมการ 2..…..........……...….กรรมการ 3…....……...........…กรรมการ  4……….............…กรรมการ 5……….........……….กรรมการและเลขานุการ

ขอบเขตงานการปรับปรุงระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย

การปรับปรุงระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) ระยะที่ 1 ประกอบด้วย 5 ระบบย่อยได้แก่

    1. ระบบงบประมาณ
    2. ระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง
    3. ระบบคลังพัสดุ
    4. ระบบการเงิน
    5. ระบบบัญชี

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร

  • ระบบงบประมาณ

    1. ข้อมูลพื้นฐานระบบ
    2. ระบบบันทึกงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ
    3. ระบบประมาณการงบประมาณ
    4. การควบคุมงบประมาณ
    5. การควบคุมวงเงินในการใช้จ่าย
    6. การควบคุมรายจ่ายงบประมาณ
    7. การขอโอน/เปลี่ยนแปลง/เพิ่มงบประมาณ/ลดงบประมาณ/ถัวเฉลี่ย
    8. การกันเงินงบประมาณไว้เบิกเหลื่อมปี
    9. 18.1 รายงานการขอเงินกันเหลื่อมปี
    10. รายงานการใช้จ่ายงบประมาณ
      1. รายงานสถานะงบประมาณ
      2. รายงานทะเบียนคุมงบประมาณรายจ่าย
      3. รายงานเปรียบเทียบระหว่างงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้และรายจ่ายจริง(เบิกจ่าย) จำแนกตามแผนงาน โครงการ รายเดือน
      4. รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณจำแนกตามแผนงาน ผลผลิตหลัก โครงการ กิจกรรม เปรียบเทียบไตรมาส
      5. รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณเงินงบประมาณและเงินนอกงบ จำแนกตามแผนงาน ผลผลิตหลัก โครงการ กิจกรรม รายเดือน
      6. รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณเงินงบประมาณและเงินนอกงบ จำแนกตามหน่วยงาน รายเดือน
      7. รายงานเปรียบเทียบงบประมาณระหว่างปี จำแนกตามแผนงาน ผลผลิตหลัก โครงการ กิจกรรม รายเดือน
      8. รายงานเปรียบเทียบงบประมาณระหว่างปี จำแนกตามหน่วยงาน หมวดรายจ่าย
      9. รายงานงบประมาณคงเหลือจำแนกตามหน่วยงาน แจกแจงตามหมวดรายจ่าย
      10. รายงานงบประมาณใช้ไปตามยุทธศาสตร์ รายเดือน
      11.                                   2
      12. รายงานการโอนเปลี่ยนแปลงบประมาณ/ถัวเฉลี่ย/ปรับลด
      13. รายงานแผน-ผล การใช้จ่ายงบประมาณ จำแนกรายเดือน
      14. รายงานสถานะใบขอเบิก ซื้อ/จ้าง
  • ระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง
              1. ระบบควบคุมมาตรฐานงานจัดซื้อ/จัดจ้าง
              2. ระบบงานควบคุมงบประมาณจัดซื้อ/จัดจ้าง
              3. ระบบงานควบคุมรายละเอียดพัสดุ
              4. ระบบจัดซื้อ/จัดจ้าง แบ่งเป็นขั้นตอนดังนี้
  • จัดทำใบขออนุมัติจัดซื้อ/จัดจ้าง
  • จัดทำใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง

        1. จัดทำใบตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง
                  1. รายงานจัดซื้อ/จัดจ้าง
                  2. การบริหารหลักประกันซอง/สัญญา และการรับซองเสนอราคา
  • ระบบคลังพัสดุ
        1. ข้อมูลพื้นฐานคลังพัสดุ
        2. ระบบงานวัสดุ
          1. การเบิกวัสดุ
          2. รายงานระบบงานวัสดุ
        3. ระบบงานทรัพย์สิน (ครุภัณฑ์ อาคาร สิ่งก่อสร้าง และที่ดิน)

        1. รายงานระบบงานทรัพย์สิน
            1. ระบบงานคำนวณค่าเสื่อม
            2. ระบบงานซ่อมบำรุงครุภัณฑ์
            3. การยืม/คืนครุภัณฑ์ระหว่างหน่วยงานย่อย ในมหาวิทยาลัยฯ
            4. การโอนครุภัณฑ์ระหว่างหน่วยงานย่อย ในมหาวิทยาลัยฯ
            5. การรับบริจาคทรัพย์สิน
            6. การจำหน่ายทรัพย์สิน
  • ระบบการเงิน4.2 ระบบการเบิกจ่าย4.4 ระบบเจ้าหนี้

    1. 4.5 ระบบลูกหนี้
    2. 4.3 ระบบการผูกพันหนี้
    3. 4.1 ระบบการเงินรับ-จ่าย

 

                                                            3

        1. ลูกหนี้การยืมเงิน
        2. ลูกหนี้ใบสำคัญ
        3. รายงานลูกหนี้
        4. 4.6 รายงานการจ่ายเงิน
        1. รายงานทะเบียนเช็คจ่าย
        2. แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.53
        3. แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.3
        4. แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.3
        5. สามารถส่งออกข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.53 ภ.ง.ด.3) ในรูปแบบ Text File (สถาบันต้องสมัครขอยื่นแบบด้วยสื่อฯ กับสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในท้องที่ และติดตั้งโปรแกรม Import ข้อมูลของกรมสรรพากร)
        6. รายงานการจ่ายเงินประจำวัน หรือตามช่วงเวลาที่กำหนด
        7. รายงานการจ่ายเงินประจำวันส่งงานบัญชี ตามเลขที่เอกสาร
        8. รายงานการจ่ายเงินประจำวันส่งงานบัญชี ตามรหัสบัญชี
        9. รายงานการจ่ายเงินแยกตามผู้ทำรายการ
        10. รายงานการจ่ายเงินแยกตามหน่วยงาน
  • ระบบบัญชี

      1. สามารถกำหนดผังบัญชีและรหัสบัญชี
      2. สามารถกำหนดสมุดบัญชี
      3. เชื่อมโยงระบบการเงินรับ เพื่อรับรู้รายการรับ
      4. เชื่อมโยงข้อมูลลูกหนี้ใบสำคัญ เพื่อบันทึกบัญชีลูกหนี้ใบสำคัญ
      5. เชื่อมโยงข้อมูลการเงินตั้งหนี้ เพื่อบันทึกบัญชีตั้งหนี้
      6. เชื่อมโยงระบบการเงินจ่าย เพื่อรับรู้การจ่าย
      7. เชื่อมโยงข้อมูลวัสดุคงเหลือ เพื่อปรับปรุงบัญชีวัสดุคงเหลือและค่าใช้จ่ายจากการเบิกวัสดุ
      8. เชื่อมโยงข้อมูลการหักค่าเสื่อม เพื่อบันทึกปรับปรุงบัญชีค่าเสื่อมราคา และค่าเสื่อมราคาสะสม
      9. เชื่อมโยงข้อมูลรับทรัพย์สิน (รับบริจาค รับเมื่อเริ่มต้นระบบ) เพื่อบันทึกปรับปรุงบัญชีสินทรัพย์
      10. เชื่อมโยงข้อมูลการโอนทรัพย์สินระหว่างหน่วยงาน เพื่อบันทึกปรับปรุงบัญชีสินทรัพย์และค่าเสื่อมสะสม
      11. เชื่อมโยงข้อมูลกับระบบบริการการศึกษาในส่วนการเงินรับนักศึกษา เพื่อรับทราบยอดรวมลูกหนี้นักศึกษา ในลักษณะปรับปรุงบัญชี
      12. สามารถยกยอดบัญชีได้โดยสรุปยอดรายได้หักรายจ่ายของมหาวิทยาลัยฯ ไปที่บัญชีกำไรขาดทุนสะสม และยกยอดรายการสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน ขึ้นรอบบัญชีใหม่
      13.                                           4
      14. สามารถบันทึกและปรับปรุงรายการบัญชี
      15. สามารถพิมพ์เอกสารใบสำคัญการลงบัญชี
      16. สามารถคัดลอกรายการลงบัญชีเดิมไปยังรายการลงบัญชีใหม่
      17. สามารถย้ายรายการลงบัญชีจากงวดบัญชี หรือสมุดบัญชีเดิมไปยังงวดบัญชี หรือสมุดบัญชีใหม่
      18. มีหน้าจอค้นหาข้อมูลประวัติการลงบัญชี
      19. สามารถป้องกันการแก้ไขข้อมูลการลงบัญชีที่ปิดบัญชีแล้ว
      20. รายงานระบบบัญชี
        1. รายงานบัญชีแยกประเภท
        2. รายงานบัญชีแยกประเภท ตามหน่วยงาน
        3. รายงานรายการลงบัญชี ตามรหัสบัญชี
        4. รายงานรายการลงบัญชี ตามสมุดบัญชี
        5. รายงานงบทดลอง
        6. งบการเงิน2) รายงาน (งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน)4) หมายเหตุประกอบงบ
        7. 3) งบกระแสเงินสด (ทางอ้อม)
        8. 1) รายงาน (งบแสดงฐานะการเงิน)
        9. รายงานเงินฝากธนาคาร
        10. รายงานข้อมูลครุภัณฑ์ และค่าเสื่อมราคา ประจำปี
        11. รายงานข้อมูลอาคาร สิ่งก่อสร้าง และค่าเสื่อมราคา ประจำปี
        12. รายงานแสดงฐานะการเงิน เปรียบเทียบ 2 ช่วงเวลา
        13. รายงานแสดงผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบ 2 ช่วงเวลา
        14. รายงานแสดงผลการดำเนินงาน แบบผลต่างสะสม
        15. รายงานแสดงผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบเดือน
        16. รายงานงบทดลอง ตามหน่วยงาน
        17. รายงานแสดงผลการดำเนินงาน ตามหน่วยงาน
        18. รายงานแสดงผลการดำเนินงาน ตามหน่วยงาน เปรียบเทียบ 2 ช่วงเวลา
      21. รายงานที่ได้จากการเชื่อมโยงระบบ
      22. รายงานวัสดุคงเหลือ ประจำเดือน
      23. รายงานหลักค้ำประกันคงค้าง ประจำเดือน
      24. รายงานเจ้าหนี้ค้างชำระ ประจำเดือน
      25. รายงานลูกหนี้ค้างชำระ ประจำเดือน
            1. รายงานลูกหนี้ใบสำคัญ ประจำเดือน
            2. ระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย

            3. ระบบบริหารงานวิจัย
            4. งานวิจัยในสถาบันการศึกษา เป็นตัวชี้วัดที่มีผลต่อการประเมินคุณภาพของสถาบัน ดังนั้นการจัดการเกี่ยวกับงานวิจัยจึงมีความสำคัญและผลที่ได้ก็จะเป็นข้อมูลสำหรับผลการปฏิบัติงานของอาจารย์และเป็นข้อมูลสนับสนุนการประเมินคุณภาพของสถาบัน

            5. คุณสมบัติพื้นฐาน
              1. พัฒนาบนเทคโนโลยี Web Application
              2. ระบบฐานข้อมูลแบบ Oracle
              3. ไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้งาน
              4. สามารถกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงเมนู และหน่วยงานได้
              5. สามารถแนบไฟล์ต่างๆในรูปแบบ เช่น Word, Excel, PDF ได้
              6. สามารถส่งออก (Export) รายงานในรูปแบบ Text File, Excel, PDF ได้
              7. รายงานเพิ่มเติมไม่เกินได้ 10 รายงาน
              8. อบรมการใช้งานระบบรวม 2 วัน
              9.  
            6. ระบบการประเมินผลข้อเสนอการวิจัย (Pre-audit)
              1. กำหนดโครงสร้างหน่วยงานได้ 2 ระดับ ได้แก่ หน่วยงานหลัก (คณะ/ศูนย์/สำนัก/สถาบัน) และหน่วยงานย่อย (ภายใต้หน่วยงานหลัก)
              2. บันทึกทุนวิจัย ได้แก่ ชื่อทุน หน่วยงาน(ที่ให้ทุน) ลักษณะทุน(ภายใน,ภายนอก), แหล่งเงิน(แผ่นดิน, รายได้, อื่นๆ), ประเภททุน
              3. บันทึกประวัตินักวิจัย ได้แก่ ชื่อ-สกุล,รหัสบัตรประชาชน, ตำแหน่งทางวิชาการ,หน่วยงาน, ความชำนาญ, ที่อยู่
              4. บันทึกและแก้ไขรายละเอียดการยื่นข้อเสนอโครงการเดี่ยว / ชุดโครงการ (มีโครงการย่อย) /โครงการย่อย ทั้งโครงการต่อเนื่อง และโครงการใหม่ สามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้
                1. ชื่อโครงการวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
                2. ประเภทโครงการ ได้แก่ โครงการเดี่ยว / ชุดโครงการ (มีโครงการย่อย) /โครงการ
                3.      ย่อย
                4. หัวหน้าโครงการวิจัยและผู้ร่วมทำงาน
                5. หน่วยงานเจ้าของโครงการ
                6. ระบุสัดส่วน (ร้อยละ) ในการทำงานของผู้วิจัยและผู้ร่วมทำงาน
                7. ปีงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
            7.  

               

               

               

                  

              1……………..... ประธานกรรมการ 2……………….. กรรมการ 3……………….. กรรมการ 4……………….. กรรมการ 5.……………….. กรรมการและเลขานุการ 

                                                                          2

                      1. ระยะเวลาดำเนินการ (วันที่เริ่มต้น-วันที่สิ้นสุดของโครงการ)
                      2. จำนวนเงินหรืองบประมาณที่ใช้
                      3. สามารถบันทึกข้อมูล ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ, ยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติ,
                      4.    นโยบายของรัฐบาล, ประเภทการวิจัย, สาขาวิชาการ,ด้านการวิจัย และ OECD
                      5. บันทึกประเภทของผลสำเร็จและผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับได้
                      6. สามารถแนบไฟล์ข้อเสนอโครงการเข้าสู่ระบบได้
                    1. หัวหน้าหน่วยงาน (เจ้าของโครงการ) ตรวจสอบ/อนุมัติ ข้อเสนอโครงการ
                    2. หน่วยงาน (เจ้าของทุน) สามารถบันทึกผลสรุปรวมการประเมินข้อเสนอโครงการที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ สามารถนำผลสรุปการประเมินมาจัดลำดับความสำคัญ และวงเงินที่ได้รับการสนับสนุนของโครงการได้
                    3. มีสถานะติดตามข้อเสนอโครงการ เช่น อยู่ระหว่างการบันทึก, ระหว่างการตรวจสอบของ    พิจารณา
                    4.    หน่วยงาน (เจ้าของโครงการ), กำลังพิจารณาโดยหน่วยงาน (เจ้าของทุน), แจ้งผลการ
            8. ระบบการติดตามโครงการที่กำลังดำเนินการวิจัย (Ongoing monitoring)
              1. นำเข้าข้อมูลจากระบบ Pre-audit หรือบันทึกข้อมูลโดยตรงในระบบ
              2. สามารถแก้ไขข้อมูลที่ถ่ายโอนมาจากระบบ Pre-audit และบันทึกงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรได้
              3. บันทึกแผน ผลการดำเนินงานวิจัย
              4. บันทึกรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ พร้อมแนบไฟล์ได้
              5. บันทึกรายละเอียดการเบิกจ่ายงบประมาณได้
              6. มีสถานะติดตามข้อเสนอโครงการ เช่น อยู่ระหว่างการบันทึก, ระหว่างการตรวจสอบของ
              7.          หน่วยงาน (เจ้าของโครงการ), ระหว่าดำเนินการ, โครงการเสร็จสิ้น
            9. ระบบการประเมินผลหลังสิ้นสุดการวิจัย (Post audit)
              1. อ้างอิงข้อมูลโครงการจากระบบ Ongoing monitoring หรือบันทึกข้อมูลโดยตรงในระบบ
              2. บันทึกข้อมูลโครงการวิจัย โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้
                1. ชื่อโครงการวิจัย
                2. บันทึกหัวหน้า, ผู้ร่วมโครงการ และสัดส่วนของการทำวิจัย
                3. หน่วยงาน (เจ้าของโครงการ)
                4. ประเภทของการวิจัย เช่น งานวิจัย/สร้างสรรค์
                5. ปีงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
                6. ระยะเวลาดำเนินการ
                7. จำนวนเงินหรืองบประมาณที่ใช้
            10.  

               

                  

              1……………..... ประธานกรรมการ 2……………….. กรรมการ 3……………….. กรรมการ 4……………….. กรรมการ 5.……………….. กรรมการและเลขานุการ 

               

                                                                                    3

                    1. บันทึกข้อมูลการตีพิมพ์/เผยแพร่ บทความวิจัย โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้
                      1. ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ชื่อวารสารที่ตีพิมพ์, ปีที่, ฉบับที่, วันที่, เลขหน้าของวารสารวิชาการ, เลข Impact Factor, ระดับวารสาร(ระดับชาติ,นานาชาติ) , ฐานข้อมูล
                      2. การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ชื่อการประชุมวิชาการ, วันที่, สถานที่จัดการประชุม, ประเทศที่จัดการประชุม, ระดับการประชุม(ระดับชาติ/นานาชาติ)
                    2. บันทึกการได้รับรางวัลจากผลงานวิจัย โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ประเภทรางวัล, ชื่อรางวัลที่ได้รับ, สาขา/ประเภทที่ได้รับรางวัล, หน่วยงานที่ให้รางวัล, วันที่, ระดับของรางวัล(ระดับชาติ/นานาชาติ)
                    3. บันทึกการได้รับการอ้างอิง โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ชื่อบทความวิจัย, ชื่อวารสารที่ตีพิมพ์, ปีที่, ฉบับที่, วันที่, เลขหน้าของวารสารวิชาการ, เลข Impact Factor, ระดับวารสาร(ระดับชาติ,นานาชาติ) , ฐานข้อมูล
                    4. บันทึกการนำไปใช้ประโยชน์ โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ประเภทการใช้ประโยชน์ (เชิงสาธารณะ, เชิงนโยบาย, เชิงพาณิชย์), ชื่อหน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์, ลักษณะการใช้ประโยชน์, ปีที่นำไปใช้ประโยชน์
                    5. บันทึกการจดทรัพย์สินทางปัญญา โดยสามารถระบุข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ประเภททรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร, อนุสิทธิบัตร, ลิขสิทธิ์), สถานภาพ (อยู่ระหว่างยื่นจด, ได้รับการจัดทะเบียนแล้ว), วันที่ ที่ยื่นคำขอจด, ประเทศที่ขอจด, วันที่ที่ได้รับการจดทะเบียน, ประเทศที่รับรองการจดทะเบียน
            11. สามารถออกรายงานได้ ดังนี้
              1. รายงานงานวิจัยและการเผยแพร่รายบุคคล
              2. รายงานงานวิจัยและการเผยแพร่ตามหน่วยงาน
              3. รายงานสรุปจำนวนงานวิจัยและการเผยแพร่ของสถาบัน
              4. รายงานจำนวนงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนแยกตามหน่วยงาน
              5. รายงานสรุปงบประมาณที่ได้รับจัดสรรตามหน่วยงาน
            12. ส่วนเพิ่มเติมอื่นๆ
              1. บันทึกประวัติผลงานของอาจารย์ย้อนหลังก่อนเข้าทำงานที่มหาวิทยาลัย(ชื่องานวิจัย,ปี,แหล่งทุน,งบประมาณ,ผลงานตีพิมพ์,ปี,ชื่อวารสาร)
              2. กำหนดการจ่ายเงินงวดสุดท้าย เมื่อมีการตีพิมพ์ได้
              3. บันทึกเงินรางวัลที่ได้รับได้
              4. แจ้งเตือนผ่านemail กรณีบันทึกผลการประเมินจากผู้ทรงวุฒิ,การเบิกจ่ายเงิน
              5. งานวิจัยสามารถบันทึกบทคัดย่อ,file(pdf) สำหรับการเผยแพร่
              6. สามารถเปิดให้บุคคลภายนอกสามารถเข้ามาค้นหางานวิจัยได้ ชื่อเรื่อง,บทคัดย่อ,file สำหรับเผยแพร่
              7.   
            13.    1……………..... ประธานกรรมการ 2……………….. กรรมการ 3……………….. กรรมการ 4……………….. กรรมการ 5.……………….. กรรมการและเลขานุการ 

               

               

              ระบบบริหารงานบุคลากรและเงินเดือน

            14. ข้อมูลพื้นฐานบุคลากร
              1. ประเภทของบุคลากร เช่น ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ เป็นต้น
              2. ประเภทตำแหน่งสายงาน เช่น รหัส ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน(วิชาการ/สนับสนุน) ชื่อย่อ เป็นต้น
              3. อัตรากำลัง เช่น เลขที่ตำแหน่ง ชื่อตำแหน่ง ระดับเงินเดือนขั้นต้น ตำแหน่งสายงาน ประเภทบุคลากร หน่วยงานที่สังกัด หน่วยงานถือจ่าย เป็นต้น
              4. ตำแหน่งทางวิชาการ/ชำนาญการ เช่น รหัส ชื่อตำแหน่ง ระดับ เงินประจำตำแหน่ง ประเภทตำแหน่ง เป็นต้น
              5. ตำแหน่งบริหาร เช่น รหัส ชื่อตำแหน่ง ชื่อย่อ ประเภทของตำแหน่ง ประเภทวาระ (มีวาระ/ไม่มีวาระ) หน่วยงานที่บริหาร เงินประจำตำแหน่ง เป็นต้น
              6. รายชื่อ ตำบล อำเภอ จังหวัด
              7. บัญชีอัตราเงินเดือน ได้แก่ ระดับตำแหน่ง ขั้น อัตราเงินเดือนที่ได้รับ
              8. รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์
              9. รายชื่อคำนำหน้านาม
              10. ข้อมูลอ้างอิงประวัติการศึกษา เช่น ชื่อวุฒิการศึกษา สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ประเทศ เป็นต้น
            15. ทะเบียนประวัติบุคลากร
              1. รหัสประจำตัวบุคลากร โดยระบบสร้างให้อัตโนมัติตามรูปแบบที่กำหนด เพื่อใช้อ้างอิงในระบบ
              2. คำนำหน้านาม
                1. คำนำหน้านามตามที่ปรากฏในบัตรประจำตัวประชาชน
                2. คำนำหน้านามที่แสดงตำแหน่งวิชาการ เช่น อ. ผศ. รศ. ศ. เป็นต้น
              3. เพศของบุคลากร (ชาย/หญิง)
              4. ชื่อ-สกุลภาษาไทย ชื่อ-สกุลภาษาอังกฤษ
              5. รหัสประจำตัวประชาชน
              6. วัน-เดือน-ปีเกิด จังหวัดที่เกิด
              7. รหัสหนังสือเดินทาง (สำหรับบุคลากรชาวต่างประเทศ)
              8. สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา หมู่โลหิต น้ำหนัก ส่วนสูง สถานภาพสมรส สถานภาพทางทหาร ความสามารถพิเศษ กีฬาที่เล่น งานอดิเรก ความสามารถทางภาษา ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์
              9. รายชื่อบุคคลในครอบครัว บุคคลที่เกี่ยวข้อง
              10. ที่อยู่
                1. ที่อยู่ที่ติดต่อได้
                2. ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน
                3. ที่อยู่ตามภูมิลำเนา
            16.  

                                                                          2

                    1. หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรศัพท์มือถือ อีเมล์ โฮมเพจ
                    2. ประเภทของบุคลากร เช่น ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ เป็นต้น
                    3. ระดับการศึกษาสูงสุด วุฒิการศึกษา วิชาเอก สถาบันที่ศึกษา ประเทศ กลุ่มวิชาที่จบ (ISCED) กลุ่มวิชาที่สอน(ISCED)
                    4. อัตรากำลังของบุคลากร เช่น เลขที่ตำแหน่ง ชื่อตำแหน่ง ตำแหน่งทางสายงาน หน่วยงานสังกัด หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน เป็นต้น
                    5. วันที่บรรจุ วันที่เริ่มงาน วันที่โอนย้ายมา วันที่เกษียณอายุ-ลาออก
                    6. เลขที่สัญญา วันที่ทำสัญญา วันที่หมดสัญญา
                    7. สามารถแสดงผลปีเกษียณของบุคลากร
                    8. บัญชีเงินเดือน ระดับตำแหน่ง อัตราเงินเดือนที่ได้รับ
                    9. ตำแหน่งทางวิชาการ/ชำนาญการ
                    10. ตำแหน่งบริหาร
                    11. ตำแหน่งความชำนาญงาน
                    12. ประวัติการเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้าง
                    13. ประวัติการดำรงตำแหน่ง
                    14. ประวัติการเปลี่ยนสถานะ เช่น ทดลองงาน ปฏิบัติงาน พ้นสภาพ(ลาออก เกษียณ) เป็นต้น
                    15. สามารถสืบค้นข้อมูลบุคลากรที่ลาออก พ้นจากตำแหน่งแล้ว ให้คงทะเบียนอยู่ในระบบ
            17. งานพัฒนาบุคลากร
              1. บันทึกข้อมูลประวัติการศึกษา ดังนี้
                1. สามารถบันทึกข้อมูลประวัติการศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ได้แก่ ระดับการศึกษา      วุฒิการศึกษา วิชาเอก/สาขา สถานศึกษา ประเทศ วันที่สำเร็จการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA)
                2. บันทึกข้อมูลประวัติการลาศึกษา ดังนี้
                  1. ข้อมูลการลาศึกษา
                    1. ประเภทการศึกษาต่อ ได้แก่ การศึกษาต่อภายในประเทศ การศึกษา     ต่อต่างประเทศ
                    2. ระดับ/สาขาวิชา/สถานศึกษาที่จะไปศึกษา
                    3. ระยะเวลา (ตั้งแต่วันที่ ถึงวันที่)
                    4. การใช้เวลาราชการ (เต็มเวลา/บางส่วน)
                    5. ทุนที่ใช้ในการศึกษา (กรณีได้รับทุน) ได้แก่
                          • ชื่อทุน
                          • ทุนในประเทศ/ทุนต่างประเทศ

                                                                          3

                          • ประเภทหน่วยงานผู้ให้ทุน (ทุนรัฐบาล/ทุนเอกชน)
                          • ประเภททุน ได้แก่ ทุนประเภท 1 (ก) 1 (ข) 1 (ค) หรือทุนประเภท 2
                          • ลักษณะทุน ได้แก่ ทุนยากจน ทุนเรียนดี ทุนประกวด ทุนศึกษาต่อ ทุนวิจัย
                          • ระดับทุนการศึกษา ได้แก่ ทุนปริญญาตรี ทุนปริญญาโท ทุนปริญญาเอก ทุนวิจัย ทุนฝึกอบรม
                          1. การฝึกอบรม หรือดูงาน ที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ได้แก่ วันที่จัด     ผู้จัด หัวข้อ สถานที่
                        1. ข้อมูลขยายเวลาศึกษาต่อ ได้แก่ ระยะเวลาที่ขอขยาย (ตั้งแต่วันที่ ถึงวันที่) คำสั่งที่ คำสั่งลงวันที่
                        2. ข้อมูลวันที่ขอกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ
                        3. ปริญญา/ประกาศนียบัตร ที่ได้รับ
                    1. บันทึกข้อมูลการประชุม ฝึกอบรม และสัมมนา ได้แก่ วันที่จัด ผู้จัด หัวข้อ สถานที่ ค่าใช้จ่าย ผู้ร่วมกิจกรรม
            18. การประเมินผลพิจารณาเลื่อนเงินเดือน เลื่อนค่าจ้าง
                1. ข้าราชการ (ข้าราชการระบบแท่ง เลื่อนเงินเดือนเป็นอัตราร้อยละ)การเลื่อนขั้นเงินเดือน      ปีละ 2 ครั้ง ตามปีงบประมาณ (ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายน/ครั้งที่ 2 วันที่ 1 ตุลาคม)
                  1. มีระบบคำนวณวงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือนร้อยละ 3 ของเงินเดือนข้าราชการอัตราที่มีคนครอง ณ วันที่ 1 มี.ค. และวันที่ 1 ก.ย. โดยวงเงินที่ใช้เลื่อนเงินเดือนในแต่ละครั้งการประเมิน แยกวงเงินออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
                    1. กลุ่มผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
                    2. กลุ่มผู้ดำรงตำแหน่งประเภทผู้บริหาร (กลุ่ม ผอ.กอง)
                    3. กลุ่มผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ และประเภททั่วไป
            19. ลูกจ้างประจำ (เลื่อนเงินเดือนเป็นขั้น)
              1. การเลื่อนขั้นเงินเดือน ปีละ 2 ครั้ง ตามปีงบประมาณ (ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายน/ครั้งที่ 2 วันที่ 1 ตุลาคม)
              2. การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ณ วันที่ 1 เมษายน จำกัดเฉพาะโควตา ผู้ที่จะได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้าง 1 ขั้น ไม่เกิน ร้อยละ 15 ของจำนวนลูกจ้างประจำ ที่มีคนครอง ณ วันที่1 มีนาคม (รวมผู้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษร้อยละ 4 ของค่าจ้าง) การคำนวณโควตาผู้ได้รับเลื่อน 1 ขั้น ไม่เกินร้อยละ 15 (คำนวณเป็นจำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มปัดทิ้ง โดยมหาวิทยาลัยนำไปพิจารณาตามความเหมาะสม)
            20.  

                                                                          4

                      1. การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ณ วันที่ 1 ตุลาคม จำกัดเฉพาะวงเงิน ที่จะใช้เลื่อนขั้นค่าจ้าง ให้เลื่อนได้ในวงเงินไม่เกิน ร้อยละ 6 ของอัตราเงินเดือนรวมของลูกจ้างประจำ ที่มีคนครอง ณ วันที่ 1 กันยายน โดยให้นำวงเงินที่ใช้เลื่อนขั้นค่าจ้างที่ใช้ไปแล้ว        ณ วันที่ 1 เมษายน มาหักออกก่อน
            21. ลูกจ้างประจำที่ได้รับค่าจ้างสูงสุดของอันดับ (ค่าจ้างเต็มขั้น) สามารถบันทึกค่าตอบแทนพิเศษตามผลการปฏิบัติงาน โดย
              1. กรณีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์สมควรได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้าง 0.5 ขั้น ให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษในอัตราร้อยละ 2
              2. กรณีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์สมควรได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้าง 1 ขั้น ให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษในอัตราร้อยละ 4
              3. กรณีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์สมควรได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้าง 1.5 ขั้น ให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษในอัตราร้อยละ 6
                      1. กรณีขั้นเงินเดือนใกล้ถึงขั้นสูงของอันดับให้เลื่อนขั้นค่าจ้างตามขั้นที่เหลืออยู่ก่อน แล้วจึงจ่ายที่เหลือเป็นเงินตอบแทน (เต็มขั้น) ในอัตราร้อยละตามผลการปฏิบัติงาน
            22. พนักงานราชการ (เลื่อนเงินเดือนแบบขั้น และแบบร้อยละ)
            23. การเลื่อนขั้นค่าตอบแทนประจำปี 1 ครั้ง (1 ตุลาคม) ดังนี้
              1. กลุ่มงานบริการ และกลุ่มงานเทคนิค (เลื่อนเงินเดือนแบบขั้น) ให้เลื่อนขั้นค่าตอบแทนได้ 1 ขั้น
              2. กลุ่มงานบริหารทั่วไป (เลื่อนเงินเดือนแบบร้อยละ) ให้เลื่อนขั้นค่าตอบแทน จำนวนร้อยละ 3 5 จากค่าตอบแทนที่ได้รับ
            24. กรณีบุคลากรได้รับการเลื่อนขั้นค่าตอบแทนประจำปีในระดับดีแล้ว และผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่นสามารถ ได้รับค่าตอบแทนพิเศษเพิ่มขึ้น ดังนี้
              1. กลุ่มงานบริการและกลุ่มงานเทคนิค ได้รับค่าตอบแทนพิเศษร้อยละ 3 5
              2. กลุ่มงานบริหารทั่วไป ได้รับค่าตอบแทนพิเศษร้อยละ 3 5
              1. วงเงินเลื่อนขั้นค่าตอบแทนพิเศษกรณีพนักงานราชการมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเด่นจะได้รับค่าตอบแทนพิเศษของฐานค่าตอบแทนก่อนการเลื่อนขั้นค่าตอบแทนในปีนั้น โดยมีโควตาได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของจำนวนพนักงานราชการ แต่ละกลุ่มงานที่มีตัวอยู่ ณ วันที่ 1 กันยายน
              2. กรณีที่มีการคำนวณเพื่อปรับอัตราค่าตอบแทน เลื่อนขั้นค่าตอบแทน หรือกำหนดค่าตอบแทนพิเศษ หากคำนวณแล้วมีเศษไม่ถึงสิบบาท ให้ปรับเพิ่มขึ้นเป็นสิบบาท
            25.  

               

                                                                          5

            26. เครื่องราชอิสริยาภรณ์
              1. เก็บทะเบียนประวัติการรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ ได้แก่ วันที่ได้รับเครื่องราชฯ เครื่องราชฯที่ได้รับ วันที่ประกาศ รกจ.ฉบับที่ เล่มที่ ตอนที่ วันที่ส่งคืนเครื่องราชฯ
              2. สามารถประมวลการรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามระเบียบการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ดังนี้
                1. บัญชี 15 ลูกจ้างประจำ
                2. บัญชี 18 ผู้ดำรงตำแหน่งในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีลัษณะพิเศษ (พนักงานมหาวิทยาลัย)
                3. บัญชี 32 พนักงานราชการ
                4. บัญชี 41 ข้าราชการตามระบบจำแนกประเภทตำแหน่ง
            27. งานลงเวลา/บันทึกวันลา
                1. สามารถตั้งค่าวันหยุดประจำปีและวันหยุดประจำสัปดาห์ได้
            28. บันทึกข้อมูลการลงเวลาปฏิบัติงานในแต่ละวันพร้อมสถานะการลงเวลา เช่น ขาด ลา มาสาย เป็นต้น แบบรายวันและรายคน
              1. รองรับการนำเข้าข้อมูลจาก Text File ที่ได้จากเครื่องบันทึกเวลาเข้าสู่ระบบ เพื่อประมวลผลเวลาทำงาน โดยตรวจเช็ค วันที่ เวลา สถานะของการบันทึกเวลา (IN เข้างาน/OUT ออกงาน)
                1. กรณีมีข้อมูลเกิน 2 ครั้งต่อวัน ระบบจะประมวลผลโดยใช้ข้อมูลที่มีสถานะเข้างาน(IN) ครั้งแรกของวันและสถานะออกงาน (OUT) ครั้งสุดท้ายของวัน
                2. กรณีส่วนงานที่เข้างาน/เลิกงานข้ามคืน ระบบจะประมวลผลโดยใช้ข้อมูล วันที่ เวลา และสถานะของการลงเวลาเป็นหลัก เช่น เมื่อเข้างานผู้ใช้ต้องกดปุ่มเข้างาน IN และเมื่อเลิกงานผู้ใช้ต้องกดปุ่มเลิกงาน OUT ที่ตัวเครื่องบันทึกเวลาทุกครั้งแล้วจึงรูดบัตร/สแกนนิ้วมือ เพื่อบันทึกเวลา ทั้งนี้เครื่องบันทึกเวลาแต่ละรุ่นจะมีการนำตัวอักษรหรือตัวเลขมาแทนค่าสถานะเข้างาน/ออกงาน (IN/OUT)
              2. สามารถแยกประเภทการลงเวลาเป็นกลุ่มได้
              3. สามารถระบุเวลาเข้าออก ที่เป็นเวลาเข้าออกปกติ เวลาเข้าออกที่นับเป็นมาสาย และเวลาเข้าออกที่นับเป็นขาดงาน
              4. สามารถกำหนดค่าวันทำงานปกติของสัปดาห์ ซึ่งอาจจะไม่ใช่วันจันทร์ถึงศุกร์
              5. สามารถกำหนดรอบการคิดวันลาได้ทั้งแบบทั้งปีและเป็นรอบการประเมิน
            29.  

                                                                          6

                      1. สามารถกำหนดจำนวนวันที่ลาได้สูงสุดและจำนวนครั้งที่ลาได้สูงสุดของแต่ละประเภทการลา
                      2. สามารถกำหนดจำนวนวันลาสะสมได้ของแต่ละประเภทการลา
                      3. กรณีลาระยะยาว เช่น ลาคลอด สามารถกำหนดการลาแบบนับรวมวันหยุด หรือไม่นับรวมวันหยุดได้
            30. รายงาน
              1. รายชื่อหน่วยงาน
              2. รายงานอัตรากำลังตามหน่วยงาน
              3. รายงานอัตรากำลังตามตำแหน่ง
              4. รายชื่อบุคลากรที่เกษียณอายุ
              5. รายชื่อบุคลากรตามหน่วยงาน
              6. รายชื่อบุคลากรตามประเภท
              7. สรุปอัตรากำลังตามตำแหน่งตามหน่วยงาน
              8. รายงาน กพ. 7/กม. 1
              9. รายชื่อตำแหน่งบริหาร
              10. รายชื่อตำแหน่งทางวิชาการ
              11. รายชื่อตำแหน่งชำนาญการ
              12. สรุปวันลา สรุปรายเดือน สรุปรายปีงบประมาณ
              13. สรุปวันมาทำงาน
              14. บัญชีการปฏิบัติงาน
              15. บัญชีแสดงการเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ
              16. บัญชีแสดงคุณสมบัติของข้าราชการซึ่งเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
              17. บัญชีรายชื่อข้าราชการผู้ขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
              18. บัญชีแสดงจำนวนชั้นตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์
              19. บัญชีรายชื่อข้าราชการที่สมควรเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
              20. รายงานโทษทางวินัยตามบุคลากร
            31. ชุดข้อมูลแบบตาราง
              1. รายชื่อบุคลากร ประเภทบุคลากร ตำแหน่ง สังกัด อัตราเงินเดือน วันบรรจุ สถานภาพการทำงาน ระดับการศึกษา
              2. ข้อมูลสรุปจำนวนบุคลากร ตามประเภทบุคลากรและสายงาน
            32.  

               

               

                                                                          7

            33. ระบบรายงานข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ (สกอ.) ด้านบุคลากร
              1. สามารถบันทึกข้อมูลพื้นฐานตามตารางอ้างอิงของสกอ. เช่น ตารางข้อมูลสถานศึกษา ตารางข้อมูลประเภทบุคลากร ตารางข้อมูลประเภทบุคลากรย่อย ตารางข้อมูลตำแหน่งทางบริหาร ตารางข้อมูลตำแหน่งทางวิชาการ เป็นต้น
              2. สามารถบันทึกการจับคู่ข้อมูลของสกอ.กับทางสถาบัน
              3. มีหน้าจอสำหรับตรวจสอบข้อมูลตามโครงสร้างฟิลด์ของสกอ.
              4. สามารถส่งออกข้อมูลรายบุคคล ในรูปแบบ .CSV (Comma-Separated Value)
              5. รายงานจำนวนบุคลากรทั้งหมด จำแนกตามคณะ/หน่วยงานที่สังกัด ประเภทบุคลากรและสายงาน (รายงานเผยแพร่ 1)
              6. รายงานจำนวนบุคลากรสายวิชาการ จำแนกตามตำแหน่งทางวิชาการ และระดับการศึกษา (รายงานเผยแพร่ 2)
            34. ระบบงานเงินเดือน
            35. ข้อมูลพื้นฐานเงินเดือน
              1. หน่วยงานจ่ายเงินเดือน ธนาคาร และสาขาของธนาคาร
              2. สามารถบันทึกรหัสรายการได้ ซึ่งสามารถระบุรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
                1. การคำนวณหักลดตามจำนวนวันทำงาน
                2. การคำนวณหักภาษี ณ ที่จ่าย
                3. การคำนวณหักเงินสะสม เช่น กบข. กสจ. ประกันสังคม เป็นต้น
                4. การคำนวณเงินตกเบิก
              3. สามารถบันทึกรหัสรายการหัก
              4. สามารถกำหนดกลุ่มจ่ายเงินเดือน แยกตามประเภทของบุคลากรได้
              5. สามารถกำหนดเกณฑ์การลดหย่อนภาษี และอัตราภาษี ตามเงื่อนไขของกรมสรรพากร
              6. สามารถแก้ไขเกณฑ์ค่าลดหย่อนภาษี
              7. สามารถแก้ไขอัตราการคำนวณภาษีที่เปลี่ยนแปลงได้
              8. สามารถกำหนดเกณฑ์การหักประกันสังคม ตามเงื่อนไขของสำนักงานประกันสังคม
              9. สามารถกำหนดวิธีการจ่ายเงินเดือน เช่น เงินสด เช็ค โอนเข้าบัญชีธนาคาร เป็นต้น
              10. สามารถกำหนดรหัสธนาคาร เลขที่บัญชีธนาคาร ชื่อบัญชีธนาคาร เลขที่ประกันสังคมของแต่ละบุคคล
              11. สามารถบันทึกข้อมูลค่าลดหย่อนภาษีแต่ละบุคคล เพื่อระบบจะใช้คำนวณยอดภาษีในแต่ละเดือน และสามารถปรับเปลี่ยนในระหว่างปีภาษีได้
              12. สามารถสร้างฐานรายการได้-รายการหักประจำ
            36.  

                                                                          8

            37. งานประมวลผลเงินเดือน
              1. เชื่อมโยงข้อมูลบุคลากร เพื่อใช้ในการจ่ายเงินเดือน
              2. สามารถจ่ายเงินเดือนเป็นรายงวดเงินเดือน และรองรับการจ่ายเงินเดือนได้มากกว่า 1 ครั้งใน 1 เดือนได้
              3. เชื่อมโยงฐานรายการได้-รายการหักประจำ เพื่อคำนวณเงินเดือน
              4. สามารถบันทึกรายการได้-รายการหัก เพิ่มเติมจากการนำเข้าจากฐาน
              5. สามารถคำนวณเงินตกเบิก โดยระบุอัตราเดิม อัตราใหม่ ช่วงเวลาที่ตกเบิก
              6. สามารถคำนวณหักเงิน โดยระบุจำนวนวันที่ลาและรอบการจ่ายเงินเดือน
              7. สามารถนำเข้ารายการหักเป็นชุดได้ตามรูปแบบ Microsoft Excel ลักษณะเป็น 4 คอลัมน์ คือ ลำดับที่ ชื่อ นามสกุล จำนวนเงิน
              8. สามารถคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย โดยระบบจะคำนวณภาษีในรอบสุดท้ายของเดือน
              9. จัดทำแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เพื่อนำส่งกรมสรรพากร ดังนี้
                1. สามารถพิมพ์แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1
                2. สามารถพิมพ์แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1
                3. สามารถพิมพ์แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1ก พิเศษ
                4. สามารถส่งออกข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.1 ภ.ง.ด.1ก ภ.ง.ด.1ก พิเศษ) ในรูปแบบ Text File (สถาบันต้องสมัครขอยื่นแบบด้วยสื่อฯ กับสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในท้องที่ และติดตั้งโปรแกรม Import ข้อมูลของกรมสรรพากร)
                5. สามารถพิมพ์หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย (50 ทวิ)
              10. สามารถคำนวณเงินสะสม สำหรับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
              11. สามารถคำนวณเงินสะสม สำหรับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
              12. สามารถพิมพ์แบบรายงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
              13. สามารถคำนวณเงินประกันสังคมของพนักงาน
              14. สามารถพิมพ์แบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบ (สปส. 1-10(1))
              15. สามารถพิมพ์แบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบ (สปส. 1-10(2))
              16. สามารถส่งออกข้อมูลเงินหักประกันสังคม ในรูปแบบ Text File ตามรูปแบบของสำนักงานประกันสังคม
              17. สามารถเก็บประวัติวิธีการจ่ายเงินเดือนของบุคลากรในแต่ละเดือนได้
              18. สามารถพิมพ์รายงานการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
              19. สามารถส่งออกข้อมูลรายละเอียดการนำเงินเดือนเข้าบัญชีธนาคารของบุคลากร ในรูปแบบ Text File
            38.                                                             9

                      1. สามารถพิมพ์เอกสารการจ่ายเงินเดือน (Payroll Slip)
                      2. สามารถป้องกันการแก้ไขข้อมูลการจ่ายเงินเดือนที่ปิดงวดเงินเดือนแล้ว
            39. รายงานเงินเดือน
              1. รายงานสรุปเงินเดือน ตามประเภทบุคลากร
              2. รายงานรายละเอียดเงินเดือน ตามประเภทบุคลากร
              3. รายงานเงินเดือน จำแนกตามรหัสเงินเดือน
              4. รายงานเงินเดือนของบุคลากร ประจำปี
              5. รายงานประวัติสรุปการจ่ายเงินเดือนรายบุคคล
              6. รายงานบุคลากรรับเข้า-ลาออก ประจำเดือน
              7. รายงานตรวจสอบยอดเปลี่ยนแปลงของรายการได้-รายการหัก ระหว่างเดือน
              8. รายงานสรุปการจ่ายเงินด้วยเงินสด
              9. รายงานสรุปการจ่ายเงินด้วยเช็ค
            40. ชุดข้อมูลแบบตาราง
              1. รายละเอียดเงินเดือน ตามประเภทบุคลากร แจกแจงรายการได้ รายการหัก
              2. รายการเงินเดือนสุทธินำส่งธนาคาร ประกอบด้วย เลขที่บัญชีธนาคาร ชื่อบัญชี จำนวนเงิน
                  1. ระบบแสดงผลออนไลน์ของบุคลากร
                  2. คุณสมบัติทั่วไป
                    1. แสดงข่าวประกาศทั่วไปในเว็บหน้าแรก และข่าวประกาศเฉพาะบุคลากรภายในเมื่อ Login เข้าสู่ระบบ
                    2. ผู้ดูแลระบบและงานการเจ้าหน้าที่สามารถส่งข้อความให้บุคลากรได้
                    3. ผู้ดูแลระบบสามารถประกาศข่าวทั่วไปได้
                    4. ผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่ม ลบ แก้ไข ผู้ใช้งาน และกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้งาน ที่จะเข้าใช้งานได้ โดย แบ่งกลุ่มผู้ใช้งาน ตามระดับสิทธิ์ ได้แก่ บุคลากรทั่วไป หัวหน้างาน (บุคลากรที่เข้าถึงข้อมูลตามสิทธิ์หน่วยงานที่ได้รับ)
              1. แสดงข้อมูลระบบบุคลากร
              2. กลุ่มหัวหน้างาน (กลุ่มบุคลากรที่เข้าถึงข้อมูลตามสิทธิ์หน่วยงานที่ได้รับ)
                1. แสดงข้อมูลการฝึกอบรม/ดูงาน โดยแยกตามประเภทของบุคลากร ประเภทสายงาน หน่วยงาน
                2. แสดงข้อมูลการลาศึกษาต่อ โดยแยกตามประเภทของบุคลากร ประเภทสายงาน หน่วยงาน ชนิดของทุนการศึกษา ประเภทการลาศึกษาต่อ
              3.  

                                                                            10

                        1. สถิติจำนวนบุคลากรแยกหน่วยงาน จำแนกวุฒิการศึกษา
                        2. สถิติจำนวนบุคลากรแยกหน่วยงาน จำแนกตำแหน่งวิชาการ
              4. กลุ่มบุคลากรทั่วไป สามารถดูประวัติของตนเองผ่านเว็บ ได้ดังนี้
                    1. แสดงข้อมูลประวัติทั่วไป เช่น ข้อมูลส่วนบุคคล ที่อยู่ รายชื่อผู้เกี่ยวข้อง ตำแหน่งปัจจุบัน ตำแหน่งบริหาร ดำรงตำตำแหน่ง (กพ. 7) การเลื่อนขั้น สถานะทำงาน ตำแหน่งบริหาร ตำแหน่งวิชาการ ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ เป็นต้น
                    2. แสดงข้อมูลเงินเดือน เช่น ข้อมูลเงินเดือนย้อนหลังในรอบปี ข้อมูลเงินเดือนปัจจุบัน พิมพ์สลิปเงินเดือน เป็นต้น
                    3. แสดงข้อมูลประวัติการลา และสิทธิ์การลาที่ได้รับ
                    4. แสดงข้อมูลพัฒนาบุคลากร เช่น ประวัติการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน การลาศึกษาต่อ เป็นต้น
              5.